การเป่าแคน

แคน

ส่วนประกอบของแคน

 

1. ไม้กู่แคน
2. ไม้เต้าแคน
3. หลาบโลหะ (ลิ้นแคน)
4. ขี้สูท
5. เครือย่านาง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แคนเป็นเครื่องดนตรีประเภทใช้ปากเป่าดูดลมเข้า-ออก ทำมาจากไม้กู่แคนหรือไม้ซาง ตระกูลไม้ไผ่ มีมากในเทือกเขาภูพวน แถบจังหวัดร้อยเอ็ด นครพนม ฝั่งประเทศลาวและภาคเหนือของไทย ลักษณะนามการเรียกชื่อแคนว่า “เต้า”
แคนแบ่งตามรูปร่างและลักษณะการบรรเลงสามารถแบ่งออกได้ทั้งหมด 4 ชนิด คือ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การฝึกเป่าแคน

 

การเป่าแคนจะนั่งเป่าหรือยืนเป่าก็ได้ โดยมีวิธีการเป่าแคนดังนี้
1. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับที่เต้าแคน ให้แน่น ในอุ้งมือ
2. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่ต้องการ
3. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า-ออก ตามเสียงที่ต้องการ
4. ขยับนิ้วตามเสียงที่ต้องการ

 

    โน้ตแคน

มือซ้ายลูกที่ มือขวาลูกที่ ระดับเสียงที่ได้
1 2 โด
3 6 เร
4 7 มี
5-7 ฟา
6 3 ซอล
1-4 ลา
2 5 ที

    การใช้นิ้วปิดรูเสียงแคน
    โน้ตแคน

นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้
หัวแม่มือ 1 โด
ชี้ 2-3 ที-เร
กลาง 4-5 มี-ฟา
นาง 6-7 ซอล-ฟา
ก้อย 8 เสพซ้าย

    

การใช้นิ้วปิดรูเสียงแคน
โน้ตแคน

นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้
หัวแม่มือ 1 ลา
ชี้ 2-3 โด-ซอล
กลาง 4-5 ลา-ที
นาง 6-7 เร-มี
ก้อย 8 เสพขวา

 

 

ลักษณะการวางนิ้วแคนแปด

 

 

 

 

การไล่บันไดเสียงแคน

 

 

มือซ้าย มือขวา
นิ้ว โน้ต โน้ต นิ้ว
ก้อย ก้อย
นาง ฟา มี นาง
นาง ซอล เร นาง
กลาง ฟา ที กลาง
กลาง มี ลา กลาง
ชี้ เร ซอล ชี้
ชี้ ที โด ชี้
โป้ง โด ลา โป้ง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ภาพการฝึกเป่าแคน

 

 

 

 

 

Posted on 24/10/2012, in ไม่มีหมวดหมู่. Bookmark the permalink. ใส่ความเห็น.

ใส่ความเห็น